วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

ข้อสอบบทที่ 3 พันธะเคมี

 1.  หลักฐานสำคัญที่แสดงว่ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร

               สารมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

               สารบางชนิดมีสมบัติการนำไฟฟ้า

การทำให้สารเปลี่ยนสถานะต้องใช้พลังงาน

               สารแต่ละชนิดมีรูปร่างแตกต่างกัน

2.  ข้อใดเรียกชื่อสารได้ถูกต้อง

               .  BaSO4   แบเรียมซัลไฟด์

               .  NaNO3  โซเดียมไนเตรต

               .  NH4Cl    แอมโมเนียมคลอรีน

               .   CaO       แคลเซียมออกซิไจด์

3.  สารประกอบใดต่อไปนี้  ไม่ได้  เกิดจากพันธะไอออนิก

               . NaF   ,  NaCl

               . NaNO3  ,  NH4F

               . BaSO4  ,  CuS

               . CO2  ,  HCl

4.  ข้อใดเขียนสูตรสารประกอบได้ถูกต้อง

               .  MgCl2  ,  CaCl2

               .  MgO  ,  K2Cl

               .  Li2Cl  ,  Al2O3

               .  Ca2F  ,  Na2S

5.  สารประกอบที่เกิดจาก  พันธะไอออนิก  เรียกว่า

               สารประกอบไอออนิก

               สารโคเวเลนต์

               สารโลหะ

               สารโครงผลึกร่างตาข่าย

6.  ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารประกอบไอออนิก

               .  มีความแข็งแต่เปราะ

               .  ในสภาพของแข็งไม่นำไฟฟ้า

               .  ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้

               .  มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง

7.  กำหนดให้  พลังงานแลตทิซ  แทนด้วย   DH1  พลังงานไฮเดรชัน  แทนด้วย   DH2

      ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการละลายของสารประกอบไอออนิก

               พลังงานการละลาย      =       DH1     +      DH2 

               พลังงานการละลาย      =       DH1     -      DH2

               ถ้า  DH1   มีค่ามากกว่า    DH2  จะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน

               ข้อ ก.  และ  ข้อ ค.  ถูก

8.  ในโมเลกุลของไนโตรเจน  ( N2 )  อะตอมทั้งสองสร้างพันธะกันแบบใด

พันธะเดี่ยว               

พันธะคู่

พันธะสาม                

พันธะโลหะ

9.  ข้อใดกล่าวถึงพันธะโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง

เกิดจากอโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน

               เกิดจากโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน

               เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับอโลหะ

เกิดจากอโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับโลหะ

10.  ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี   C   สร้างพันธะกัน

พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  >  พันธะสาม

               พันธะเดี่ยว  <  พันธะคู่  <  พันธะสาม 

               พันธะเดี่ยว  >  พันธะคู่  <  พันธะสาม

               พันธะเดี่ยว  =  พันธะคู่  =  พันธะสาม

-3-

 13.  ข้อใดอ่านชื่อโมเลกุลตามสูตร  N2O3  ได้ถูกต้อง

               .  ไดไนโตรเจนออกไซด์

               .  ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์

               .  ไนโตรเจนไตรออกซิไจด์

               .  ไดไนโตรเจนไตรออกซิไจด์

14.  รูปร่างของโมเลกุล  CH4  มีลักษณะอย่างไร

.  ทรงสี่หน้า               

.  มุมงอ

               .  เส้นตรง           

.  พีระมิดฐานสามเหลี่ยม

15.  สารในข้อใดมีรูปร่างเป็นพีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม

               .  PCl                        

.  PBr3

                    .  NH3                                   

.  SiH4

16.  โมเลกุลใดต่อไปนี้เป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด

.  H2   ,   O2      

.  CHCl   ,  BeCl2   

.  I2   ,   HBr       

.  H2O   ,   NH3

 

-4-

17.  แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้ว  ซี่งเป็นแรงอ่อน ๆ  เรียกว่า 

               .  แรงดึงดูดระหว่างขั้ว    

               .  แรงลอนดอน

               .  แรงวันเดอร์วาลว์

               .  พันธะไฮโดรเจน

18.  สารผสมระหว่างโมเลกุลต่อไปนี้ข้อใดมีพันธะไฮโดรเจนเกิดขึ้น

               .  CH4   กับ  BeCl2

                                        .  I2  กับ  C2H2

               .  H2O   กับ  C2H5OH

               .  C6H14   กับ  NaCl

19.  เพราะเหตุใด  เพชร  จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว สูงกว่าสารโคเวเลนต์ทั่วไป

               .  เพราะในผลึกของเพชรมีพันธะโลหะด้วย

               .  C  อะตอมเกิดพันธะโคเวเลนต์ กับอะตอมข้างเคียง  4  อะตอม

               .  การเปลี่ยนแปลงสถานะของ  เพชร  ต้องทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม

               .  ข้อ  ข.  และข้อ ค.  ถูก

20.  สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่นของโลหะได้ดีที่สุด

               .  โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก

.  โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ

.  อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้

.  ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น