1.2.อุบัติเหตุจากสารเคมี
ในการทำปฏิบัติการเคมีอาจเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ จากการใช้สารเคมีได้
ซึ่งหากผู้ทำปฏิบัติการมี
ความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจะสามารถลดความรุนแรง
ความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจะสามารถลดความรุนแรง
และความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ โดยการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุจากการใช้สารเคมี มีข้อปฏิบัติดังนี้
การปฐมพยาบาลเมื่อร่างกายสัมผัสสารเคมี
1. ถอดเสื้อผ้าบริเวณที่เปื้อนสารเคมีออก และซับสารเคมีออก
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุจากการใช้สารเคมี มีข้อปฏิบัติดังนี้
การปฐมพยาบาลเมื่อร่างกายสัมผัสสารเคมี
1. ถอดเสื้อผ้าบริเวณที่เปื้อนสารเคมีออก และซับสารเคมีออก
จากร่างกายให้มากที่สุด
2. กรณีเปื้อนสารเคมีที่ละลายน้ำได้ เช่น กรดหรือเบส
2. กรณีเปื้อนสารเคมีที่ละลายน้ำได้ เช่น กรดหรือเบส
ให้ล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมีด้วยการเปิดน้ำไหลผ่านปริมาณมาก
3. กรณีเป็นสารเคมีที่ไม่ละลายน้ำ ให้ล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมี
ด้วยน้ำสบู่
4. หากทราบว่าสารเคมีที่สัมผัสร่างกายคือสารใด ให้ปฏิบัติตาม
4. หากทราบว่าสารเคมีที่สัมผัสร่างกายคือสารใด ให้ปฏิบัติตาม
ข้อกำหนดในเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี
กรณีที่ร่างกายสัมผัสสารเคมีในปริมาณมากหรือมีความเข้มข้นสูง
ให้ปฐมพยาบาลเบื้องต้นแล้วนำส่งแพทย
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
ตะแคงศีรษะโดยให้ตาด้านที่สัมผัสสารเคมีอยู่ด้านล่าง
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
ตะแคงศีรษะโดยให้ตาด้านที่สัมผัสสารเคมีอยู่ด้านล่าง
ล่างตาโดยการเปิดน้ำเบา ๆ ไหลผ่าน
ดั้งจมูกให้น้ำไหลผ่านตาข้างที่โดนสารเคมี ดังรูป 1.5 พยายามลืมตา
ดั้งจมูกให้น้ำไหลผ่านตาข้างที่โดนสารเคมี ดังรูป 1.5 พยายามลืมตา
และกรอกตาในน้ำอย่างน้อย 10 นาที หรือจนกว่าแน่ใจว่าชะล้างสารออกหมดแล้ว
ระวังไม่ให้น้ำเข้าตาอีกข้างหนึ่ง แล้วนำส่งแพทย์ทันที
การปฐมพยาบาลเมื่อสูดดมแก็สพิษ
1. เมื่อมีแก็สพิษเกิดขึ้น ต้องรีบออกจากบริเวณนั้นและไปบริเวณ
1. เมื่อมีแก็สพิษเกิดขึ้น ต้องรีบออกจากบริเวณนั้นและไปบริเวณ
ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกทันที
2. หากมีผู้ที่สูดดมแก็สพิษจนหมดสติหรือไม่สามารถ
2. หากมีผู้ที่สูดดมแก็สพิษจนหมดสติหรือไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้ ต้องรีบเคลื่อนย้าย
ออกจากบริเวณนั้นทันที โดยที่ผู้ช่วยเหลือต้องสวมอุปกรณ์
ออกจากบริเวณนั้นทันที โดยที่ผู้ช่วยเหลือต้องสวมอุปกรณ์
ป้องกันที่เหมาะสม เช่น หน้ากากป้องกันแก็สพิษ ผ้าปิดปาก
3. ปลดเสื้อผ้าเพื่อให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหายใจได้สะดวกขึ้น
3. ปลดเสื้อผ้าเพื่อให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหายใจได้สะดวกขึ้น
หากหมดสติให้จับนอนคว่ำและตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
เพื่อป้องกันโคนลิ้นกีดขวางทางเดินหายใจ
4. สังเกตการเต้นของหัวใจและการหายใจ หากว่าหัวใจหยุดเต้น
4. สังเกตการเต้นของหัวใจและการหายใจ หากว่าหัวใจหยุดเต้น
และหยุดหายใจให้นวดหัวใจและผายปอดโดยผู้ที่ผ่านการฝึก
แต่ไม่ควรใช้วิธีเป่าปาก (mouth to mouth) แล้วนำส่งแพทย์ทันที
การปฐมพยาบาลเมื่อโดนความร้อน
แช่น้ำเย็นหรือปิดแผลด้วยผ้าชุบน้ำจนหายปวดแสบปวดร้อน
แล้วทายาขี้ผึ้งสำหรับไฟไหม้และน้ำร้อนลวก หากเกิดบาดแผลใหญ่
ให้นำส่งแพทย์กรณีที่สารเคมีเข้าปากให้ปฏิบัติตามคำแนะนำ
ตามเอกสารความปลอดภัยแล้วนำส่งแพทย์ทุกกรณี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น